โพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยของ "พ่อ"
ศูนย์เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง

ติดต่อเรา

มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
เลขที่ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมู่บ้านสัมมากร สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
สำนักงาน ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ (แผนที่)
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง 038-198643 (แผนที่)


User login

พอแล้วรวย

  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_argument::init() should be compatible with views_handler::init(&$view, $options) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_argument.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_validate() should be compatible with views_handler::options_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_submit() should be compatible with views_handler::options_submit($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_term_node_tid::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/taxonomy/views_handler_filter_term_node_tid.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_node_status::operator_form() should be compatible with views_handler_filter::operator_form(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/node/views_handler_filter_node_status.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_validate() should be compatible with views_plugin::options_validate(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_submit() should be compatible with views_plugin::options_submit(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_style_default::options() should be compatible with views_object::options() in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_style_default.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_boolean_operator::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter_boolean_operator.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  1. ดร.เน VS ดร.มัน

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 20:09
    พระเจ้าอยู่หัวฯ บอกไว้เสมอว่า ถ้าคบ ดร.เน ไปนาน ๆ จากคนใจร้อน ก็จะกลายเป็นคนใจเย็น จากคนไม่แข็งแร็ง สุขภาพย่ำแย่ ก็จะเปลี่ยนเป็นคนแข็งแรง กระฉับกระเฉง จากคนเห็นแก่ตัว ก็จะเป็นคนเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ จากคนรุ่มร้อน ก็จะเป็นคนสงบเย็น จากคนไม่มีเวลา ก็จะเป็นคนที่มีเวลามากมาย จากคนที่เคยเที่ยวทะเลาะเบาะแว้งไปทั่ว นิสัยก็จะเปลี่ยนเป็นคนที่ใคร ๆ ก็รัก

    อาจารย์ยักษ์มักจะกล่าวเป็นเชิงอวดอ้างนิด ๆ ว่ามีสัญชาติญาณเหมือนมดที่รู้อนาคตของดินฟ้าอากาศ เวลาจะเกิดฝนตก น้ำท่วม แผ่นดินไหว มดก็จะรู้ตัวก่อนเพื่อน จะเคลื่อนย้ายเสบียงอาหารไปในที่ ๆ ปลอดภัย น้ำท่วมไม่ถึง เพียงแต่อาจารย์ยักษ์เป็นมดที่ไม่ได้ขนเสบียง ย้ายไปไหน แต่เป็นมดที่เที่ยวชักชวนให้เพื่อนมดด้วยกันเตรียมหาเสบียงไว้เลี้ยงตัวก่อนที่ภัยจะมา

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 19 กันยายน 2552
  2. รุกขเทวดา ท่านอยู่ไหน

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 19:52
    มนุษย์ในอดีตที่วิถีชีวิตยังต้องพึ่งพิงธรรมชาติ ยังต้องอาศัย ป่า อาศัยน้ำ ในการดำรงชีวิตจึงเป็นมนุษย์ที่ อ่อนน้อมถ่อมตน ต่อดินฟ้า ครั้นมนุษย์เริ่มคิดสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ของธรรมชาติได้ทีละอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการค้นพบกระแสไฟฟ้า เครื่องจักรยนต์ รถไฟ เครื่องบิน ล่าสุด อินเทอร์เนต

    มนุษย์ในอดีตที่วิถีชีวิตยังต้องพึ่งพิงธรรมชาติ ยังต้องอาศัย ป่า อาศัยน้ำ ในการดำรงชีวิตจึงเป็นมนุษย์ที่ อ่อนน้อมถ่อมตน ต่อดินฟ้า ครั้นมนุษย์เริ่มคิดสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ ที่เอาชนะอุปสรรคต่าง ๆ ของธรรมชาติได้ทีละอย่าง ไม่ว่าจะเป็นการค้นพบกระแสไฟฟ้า เครื่องจักรยนต์ รถไฟ เครื่องบิน ล่าสุด อินเทอร์เนต ความหลงใหลได้ปลื้มกับความเก่งกาจ ความฉลาดของมนุษย์ในยุคศตวรรษที่ 21 จึงเป็นความหลงใหลได้ปลื้มกับคำว่า วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึงขั้นเชื่อว่า มนุษย์สามารถควบคุม “ฟ้า” ได้ แต่พอมนุษย์เริ่มอหังการ์จะรุกคืบ รบรากับธรรมชาติ ดินฟ้าอากาศจริง ๆ มนุษย์ก็เริ่มตระหนักแล้วว่า ความสามารถที่จะป้องกัน “ลม” อย่างลมพา

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 5 กันยายน 2552
  3. โลกร้อน เดือดร้อนถึงช้าง

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 19:41
    วิธีคิดแบบทุนที่มีเงินเป็นเป้าหมายยังผลให้เกิด พืชเศรษฐกิจ พืชเชิงเดี่ยวที่รุกล้ำพื้นที่ป่า ที่อยู่อาศัยของพืชพรรณสัตว์ป่านานาชนิด จนสัตว์หลายชนิดกำลังจะสูญพันธุ์ ช้างไทย ก็หนีไม่พ้นตกอยู่ในวังวนอันตรายแบบเดียวกัน ถึงเวลาที่ช้างก็ต้องออกมารณรงค์เรียกร้อง “สิทธิ” ที่จะคงบ้านของตัวเองไว้

    อีกไม่กี่เดือนข้างหน้าคนทั้งโลกก็จะต้องถกปัญหา “โลกร้อน” กันอีกครั้งในการประชุมสุดยอดว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่จะมีขึ้นในกรุงโคเปนเฮเกน ประเทศเดนมาร์ค ในเดือนธันวาคม ที่กำลังจะมาถึงนี้ ถือเป็นการประชุมที่ผู้นำโลกต้องประกาศ “ความรับผิดชอบ” และ “ลงมือ” แก้ปัญหาตามที่ได้มีพันธะสัญญาในข้อตกลงพิธีสารเกียวโต คนทั้งโลกกำลังเรียกร้องให้ผู้นำโลกเอาจริงเอาจังกับการแก้ปัญหาเพราะสภาวะโลกร้อนที่เป็นอยู่ในขณะนี้ อยู่ในขั้นวิกฤติที่อาจมีผลถึงขนาด “ทำลายล้าง” อารยธรรมของมนุษยชาติ

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 29 สิงหาคม 2552
  4. โลกสวยด้วยมือเรา 2

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 19:08
    สิ่งที่น่าตกใจคือ นักวิทยาศาสตร์พบว่า ป่าอเมซอน ซึ่งถือว่าเป็น “ปอด”ของโลกก็ว่าได้ กำลังอยู่ในอาการ “เผาไหม้ตัวเอง” เพราะอุณหภูมิที่สูงขึ้นของโลก แต่สิ่งที่น่าตกใจยิ่งกว่านั้นคือเมื่อนักวิทยาศาสต์ด้านพฤษศาสตร์พบว่าเมื่อความร้อนขึ้นถึงจุด ๆ หนึ่ง ต้นไม้จะดูดออกซิเจนและคายคาร์บอนไดออกไซด์แทน

    โลกจะ “สวย” หรือ “ซวย” ก็ด้วยมือของเรา มนุษย์ที่เป็นเจ้าของบ้าน นับแต่นี้ไป ข่าวที่เราจะได้ยินได้ฟังทุกวันก็คงหนีไม่พ้น เรื่องราวที่เกี่ยวกับ โรคระบาดสายพันธุ์ใหม่ชนิดต่าง ๆ จากไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ วันนี้เรามีไวรัสเอดส์สายพันธุ์ใหม่ โรคที่เคยระบาดและควบคุมได้ในอดีตจะกลับมาอีก เช่น กาฬโรคในจีนที่เป็นข่าวเร็ว ๆ นี้ ซึ่งก็ยังไม่มีใครรับรองได้ว่าเราจะสามารถควบคุมมันได้จริง ๆ ภัยธรรมชาติ เช่น ไฟป่า ที่จะเกิดในพื้นที่ใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีไฟป่ามาก่อน เร็ว ๆ นี้ก็ที่ประเทศแคนาดา ทั้งหมดเป็น “อาการเตือน” ถึงภูมิคุ้มกันที่กำลังเหลือน้อยเต็มทีของของโลก บ้าน หลังเดียวของมนุษย์

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 1 สิงหาคม 2552
  5. โลกสวยด้วยมือเรา 1

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 17:22
    ณ วันนี้ไม่มีใครกล้าปฎิเสธอีกต่อไปว่าโลกกำลังเข้าขั้นวิกฤติ เสมือนโลกกำลังเป็นโรคพุ่มพวงที่ภูมิต้านทานกำลังกัดกินตัวเองอยู่ ไม่มีใครจะสามารถช่วยโลกได้อีกต่อไปถ้ามนุษย์ที่เป็นเจ้าของบ้านไม่ช่วยตัวเองด้วยการหยุด “เผา” หรือเติมเชื้อไฟที่จะทำลายให้ภูมิต้านทานของโลกต่ำลงไปกว่านี้

    ณ วันนี้ไม่มีใครกล้าปฎิเสธอีกต่อไปว่าโลกกำลังเข้าขั้นวิกฤติ เสมือนโลกกำลังเป็นโรคพุ่มพวงที่ภูมิต้านทานกำลังกัดกินตัวเองอยู่ ไม่มีใครจะสามารถช่วยโลกได้อีกต่อไปถ้ามนุษย์ที่เป็นเจ้าของบ้านไม่ช่วยตัวเองด้วยการหยุด “เผา” หรือเติมเชื้อไฟที่จะทำลายให้ภูมิต้านทานของโลกต่ำลงไปกว่านี้ หลักการง่าย ๆ คือใช้ชีวิตที่รู้จัก “พอ” และลงมือสร้างโลกสวยอีกครั้งด้วยมือเราเอง อาจารย์ยักษ์ขอเสนอแนะวิธีง่าย ๆ ที่ทุกคนสามารถปฏิบัติได้ดังนี้

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 25 กรกฎาคม 2552
  6. น้ำตาฟ้า

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 17:10
    อุณหภูมิที่สูงขึ้นเพียงองศาเดียวจะก่อให้เกิดวิกฤติธรรมชาติที่กระทบกันเป็นลูกโซ่ เช่น เกิดคลื่นความร้อน ระดับน้ำทะเลสูงขึ้น น้ำแข็งขั้วโลกละลาย ภูเขาหิมะละลาย กระแสน้ำเย็น กระแสน้ำอุ่นเปลี่ยนแปลงซึ่งจะมีผลทำให้ฤดูกาลเปลี่ยนแปลง ระบบนิเวศถูกทำลาย ห่วงโซ่ชีวิตตกอยู่ในอันตราย

    จากการไปบรรยายปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้กับบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อมฟังพร้อมกับการได้แลกเปลี่ยนความรู้และได้หนังสือทรงคุณค่าด้านสิ่งแวดล้อมมาเล่มหนึ่งที่เขียนโดย ดร. เคริสติน โดว และ ดร.

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 18 กรกฎาคม 2552
  7. นวัตกรรมพระสังข์เรียกปลา

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 17:00
    ในสมัยเด็กๆ อาจารย์ยักษ์เป็นคนที่ชอบกินปลามาก และจะคุ้นเคยกับกรรมวิธีในการเรียกปลาให้มาชุมนุมกันของคนโบราณ เข้าใจว่าน่าจะเป็นวิธีการเดียวกันที่พระสังข์ใช้เรียกปลา วิธีการง่ายๆ ที่ชาวบ้านสมัยก่อนใช้กันมี สองสามวิธี

    ในสมัยเด็กๆ อาจารย์ยักษ์เป็นคนที่ชอบกินปลามาก และจะคุ้นเคยกับกรรมวิธีในการเรียกปลาให้มาชุมนุมกันของคนโบราณ เข้าใจว่าน่าจะเป็นวิธีการเดียวกันที่พระสังข์ใช้เรียกปลา วิธีการง่ายๆ ที่ชาวบ้านสมัยก่อนใช้กันมี สองสามวิธี วิธีหนึ่งที่นิยมกันคือการทำคอกโดยใช้ไม้สี่เหลี่ยมวางอยู่ริมน้ำหรือริมบึง ในคอกจะใส่หญ้า ฟาง ผสมกับขี้วัวขี้ควาย หมักทิ้งไว้ ไม่นานเราจะเริ่มสังเกตเห็นปลาเล็กปลาน้อยมาวนเวียนอยู่รอบๆ คอกกินไรแดงไรขาว อีกนวัตกรรมหนึ่งที่ชาวบ้านโบราณคุ้นเคยกันในการเรียกชุมนุมปลาก็คือ “ลูกตุ้ม” ชนิดเดียวกับ “ระเบิดจุลินทรีย์” ที่เราปาลงทะเล ลงแม่น้ำในกิจกรรมจากภูผาสู่มหานที เมื่อสัปดาห์ก่อน ช

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 4 กรกฎาคม 2552
  8. จากภูผา...สู่...มหานที

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 16:49
    ประเทศไทยเข้าสู่ภาวะความยากจน เพราะผู้คนพากันทำลาย เริ่มต้นด้วยการทำลาย ดิน ที่อยู่ของทุ่งนา จากนั้นทำลาย ป่า แหล่งสถิตของภูผา และ สุดท้ายทำร้าย ทะเล มหานทีที่พักพิงของสัตว์ใหญ่น้อย กุ้งหอยปูปลา ชีวิตธรรมชาติทั้งหมดกำลังตกอยู่ในอันตราย

    “จากทุ่งนา ผ่านภูผา สู่ มหานที” ฟังดูคล้ายๆ กับเป็นลำนำของกวีเอกคนใดคนหนึ่งที่กำลังพร่ำพรรณาถึงความงดงามของธรรมชาติที่ดื่มด่ำใจ แต่ใครจะรู้ไหมว่ามีเพียงคนกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 600 ชีวิตเท่านั้นที่รู้ว่า คำลำนำดังกล่าวหาใช่กวีนิพนธ์ของใครไม่ แต่นี่คือ “ยุทธศาสตร์ในการกู้วิกฤติ” ชาติ เป็นยุทธศาสตร์ที่จะกอบกู้ให้ประเทศนี้รอดพ้นจากภัยพิบัติ 4 ด้านที่กำลังรุมล้อมเราอยู่ทั้ง ภัยธรรมชาติ ภัยสงคราม ภัยข้าวยากหมากแพง ภัยโรคระบาด เป็นยุทธศาสตร์การเคลื่อนทัพพลิกฟื้นแผ่นดินไทยให้กลับมามั่งคั่ง อุดมสมบูรณ์เช่นเดิม

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 27 มิถุนายน 2552
  9. เทคโนโลยีแห่งความพอเพียง (2)

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 00:21
    หากยังจำกันได้ย้อนไปไม่ถึงร้อยปี คนส่วนใหญ่ยังไม่มีพาหนะที่ทันสมัยที่จะพาผู้คนไปไหนมาไหนได้ดังใจคิด เมื่อเทคโนโลยีก้าวหน้าขึ้นความใฝ่ฝันที่จะบินได้เหมือนนกก็เป็นจริงเมื่อการประดิษฐ์เครื่องบินประสบความสำเร็จ และมนุษย์ก็แหวกเครื่องกีดขวางของธรรมชาติเดินทางข้ามน้ำข้ามมหาสมุทรถึงกันได้

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 20 มิถุนายน 2552
  10. เทคโนโลยีแห่งความพอเพียง (1)

    Submitted by veevong on February 17, 2011 - 00:09
    เทคโนโลยีถูกสร้างและคิดค้นขึ้นโดยพื้นฐาน เพื่อการแก้ปัญหาในการดำรงชีวิต เช่น ตู้เย็น ถูกผลิตขึ้นมาเพื่อเก็บรักษาอาหารให้มีอายุยาวขึ้น ไม่เสียง่าย ไฟฟ้าผลิตขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์มองเห็นในเวลากลางคืน

              เทคโนโลยีถูกสร้างและคิดค้นขึ้นโดยพื้นฐาน เพื่อการแก้ปัญหาในการดำรงชีวิต เช่น ตู้เย็น ถูกผลิตขึ้นมาเพื่อเก็บรักษาอาหารให้มีอายุยาวขึ้น ไม่เสียง่าย ไฟฟ้าผลิตขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์มองเห็นในเวลากลางคืน
              ต่อมาเทคโนโลยีได้ถูกพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานในการดำรงชีวิตมาเป็นตอบสนองความสะดวกสบาย ทำให้มนุษย์หลุดออกจากขีดจำกัดแวดล้อมของธรรมชาติ

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 13 พฤษภาคม 2552