9 ฐานเรียนรู้
ความรู้ที่น่าสนใจ (Documents on web)
ติดต่อเรา
มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
เลขที่ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมู่บ้านสัมมากร สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
สำนักงาน ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ (แผนที่)
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง 038-198643 (แผนที่)
User login
ลิงค์เครือข่าย
วิวัฒน์ ศัลยกำธร
-
ยุทธการถอยหลังเข้าคลอง ตอน รักษ์ไม่จางที่บางปะกง 2
Submitted by sanittha on January 31, 2011 - 16:20แหล่งที่มา:คมชัดลึก 3 ตุลาคม 2552 -
ยุทธการถอยหลังเข้าคลอง ตอน รักษ์ไม่จางที่บางปะกง 1
Submitted by sanittha on January 31, 2011 - 15:53ย้อนไปเมื่อ 12 ปีก่อน เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2540 พระองค์ท่านมีพระราชดำรัสตอนหนึ่งว่า “ที่เกิดมีวิกฤติการณ์ขึ้นมา ก็เพราะว่าขยายการผลิตมากเกินไป และไม่มีใครซื้อ เพราะไม่มีใครมีเงินพอที่จะซื้อ ต้องถอยหลังเข้าคลอง จะต้องอยู่อย่างระมัดระวัง และต้องกลับไปทำกิจการที่อาจจะไม่ค่อยซับซ้อนนัก คือใช้เครื่องมืออะไรที่ไม่หรูหรา มีความจำเป็นที่จะถอยหลัง เพื่อที่จะก้าวหน้าต่อไป ถ้าไม่ทำอย่างที่ว่านี้ ก็จะแก้วิกฤติการณ์นี้ยาก”
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 26 กันยายน 2552 -
มหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน...วิถีบ้าน บ้าน ผ่านวิกฤตได้จริง (2)
Submitted by veevong on January 29, 2011 - 13:39ฉบับที่แล้วเล่าเรื่องงานมหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน ถึงการนำวิถีบ้าน บ้าน มาแสดงให้เห็นจริง ว่าวิถีดั้งเดิมของเรานี่แหละที่เป็นทางรอด ผ่านวิกฤตได้จริง โดยยกเอาวิถีของภาคเหนือกับการต้านวิกฤตหมอกควัน วิถีอีสานกับการต้านภัยแล้งมาให้เห็นภาพบ้างแล้ว ฉบับนี้อาจารย์ยักษ์จะบอกเล่าถึงอีกสองภาคและภารกิจของสถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ที่เชื่อมประสานกับต่างประเทศจนนำมาสู่งานมหกรรมคืนชีวิตภาคนานาชาติในวันที่ 19 มีนาคม เพิ่มมาจากปกติที่เราจัดงานกัน 17-18 มีนาคมเท่านั้น
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 29 มกราคม 2554 -
มหกรรมคืนชีวิตให้แผ่นดิน...วิถีบ้าน บ้าน ผ่านวิกฤตได้จริง (1)
Submitted by veevong on January 27, 2011 - 20:08ปีพุทธศักราช 2554หรือ ค.ศ.2011 เปิดศักราชด้วยข่าวคราวความผิดปกติทางธรรมชาติ เริ่มจากนกที่ตกมาตายจำนวนมากในหลายพื้นที่ ตามมาด้วยปลาหลายล้านตัว น้ำหนักเป็นตันๆ ลอยตายเกยตื้นริมฝั่งทะเลในหลายประเทศ กลายเป็นข่าวใหญ่โตให้ติดตามในหนังสือพิมพ์หน้า 1
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 22 มกราคม 2554 -
กระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม (3)
Submitted by veevong on January 10, 2011 - 15:01กระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม 7 ขั้นตอน ถอดแบบจากการปฏิบัติจริงของเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ ผ่านการลองผิดลองถูกมาตลอด จนได้เป็น 7 ขั้นตอนซึ่งมีการพัฒนาที่แตกต่างไปจากเมื่อยุคปี 2520-2525 กล่าวคือ สมัยก่อนนั้น เราทำแค่กองกำลังภาคประชาชนและภาครัฐเท่านั้น แต่ปัจจุบันนี้ต้องใช้ทั้ง 5 ภาคีมาร่วมกัน จึงจะต้านภัยพิบัติของธรรมชาติได้
แหล่งที่มา:คม ชัด ลึก 8 มกราคม 2554 -
กระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม (2)
Submitted by veevong on January 6, 2011 - 14:57สงครามกับธรรมชาติไม่อาจใช้ทูตไปเจรจาให้ธรรมชาติประนีประนอม หรือยกเว้นพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่งได้ ซึ่งหนักหนาสาหัสกว่าทุกสงครามที่มนุษย์เคยเผชิญมา ดังนั้นเราจึงต้องปรับตัวครั้งใหญ่ และจะต้องระดมสรรพกำลังของแผ่นดินมาจัดตั้งเป็นกองกำลังเพื่อทำการสู้รบกับธรรมชาติ โดยระดมกำลังทั้ง 5 ภาคี มาตั้งกองกำลังประจำถิ่นขึ้นทุกลุ่มน้ำ
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 1 มกราคม 2554 -
กระบวนการขับเคลื่อนทางสังคม (1)
Submitted by veevong on January 6, 2011 - 14:44ขณะที่กำลังเขียนต้นฉบับอยู่นี้ คือวันที่ 19 ธันวาคม มีการจัดงาน “เจาะลึกภัยพิบัติ พลิกวิกฤตให้เป็นทางรอด” ขึ้นที่มหาวิทยาลัยศรีปทุม เพื่อเป็นการติดตามวิกฤติภัยพิบัติธรรมชาติและความพยายามในการหาทางออกร่วมกัน
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 25 ธันวาคม 2553 -
“ปฏิบัติบูชา” เทิดพระบารมี
Submitted by veevong on December 21, 2010 - 13:23แหล่งที่มา:คมชัดลึก 18 ธันวาคม 2553 -
4 รู้ 3 รัก 2 สามัคคี เปลี่ยนฐานคิดสู่ความพอเพียง (2-3)
Submitted by veevong on December 20, 2010 - 14:48ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงประกอบด้วย 2 เงื่อนไข คือ ความรู้ และคุณธรรม สัปดาห์ที่แล้ว อาจารย์ยักษ์อธิบายเรื่อง 4 รู้ ซึ่งเป็นเงื่อนไขความรู้ ส่วนสัปดาห์นี้จะอธิบายเรื่อง “รัก และ สามัคคี” ซึ่งก็คือเงื่อนไข “คุณธรรม” ตามสูตร 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 11 ธันวาคม 2553 -
4 รู้ 3 รัก 2 สามัคคี เปลี่ยนฐานคิดสู่ความพอเพียง (1)
Submitted by veevong on December 17, 2010 - 11:26สัปดาห์นี้อาจารย์ยักษ์อยากชวนให้คิดตามว่า จริงไหมที่ถ้าเรามี 4 รู้ 3 รัก 2 สามัคคีแล้ว เราจะสามารถเปลี่ยนฐานคิดในการออกแบบการบริหารจัดการอุตสาหกรรมสู่แนวทางการเป็นอุตสาหกรรมพอเพียงได้จริง และทำได้ในทั้ง 2 ระดับ คือทั้งระดับการบริหารงานองค์กรและระดับผู้ปฏิบัติ คือพนักงาน และมากกว่านั้น คือสามารถขยายเครือข่ายไปยังทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง เช่น เกษตรกรผู้ผลิตอ้อยป้อนโรงงานดังที่เคยยกตัวอย่างให้เห็นแล้ว
4 รู้นั้น แตกออกได้เป็น หนึ่ง-รู้ราก สอง-รู้งาน สาม-รู้คน รู้ตน สี่-รู้โลก
แหล่งที่มา:คมชัดลึก 27 พฤศจิกายน 2553