โพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยของ "พ่อ"
ศูนย์เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง

ติดต่อเรา

มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
เลขที่ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมู่บ้านสัมมากร สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
สำนักงาน ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ (แผนที่)
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง 038-198643 (แผนที่)


User login

มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ

  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_argument::init() should be compatible with views_handler::init(&$view, $options) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_argument.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_validate() should be compatible with views_handler::options_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_submit() should be compatible with views_handler::options_submit($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_term_node_tid::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/taxonomy/views_handler_filter_term_node_tid.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_node_status::operator_form() should be compatible with views_handler_filter::operator_form(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/node/views_handler_filter_node_status.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_validate() should be compatible with views_plugin::options_validate(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_submit() should be compatible with views_plugin::options_submit(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_style_default::options() should be compatible with views_object::options() in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_style_default.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_boolean_operator::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter_boolean_operator.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  1. บุคคลที่หาได้ยาก (2)

    Submitted by veevong on February 28, 2011 - 12:29
    อาจารย์ยักษ์เคยเล่าถึงเรื่องของความพยายามในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาขยายผลในภาคอุตสาหกรรม โดยเริ่มจากอุตสาหกรรมในเครือข่ายที่ได้พยายามศึกษาทำความเข้าใจปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แล้วนำไปประยุกต์ใช้ให้เข้ากับอุตสาหกรรมของตนเอง

    ฉบับที่แล้ว อาจารย์ยักษ์ชื่นชมคนเล็กๆ ในเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ คนรุ่นกลางที่เอาจริงเอาจังกับการทำงานเพื่อเป็นบทพิสูจน์เป็นต้นแบบ ซึ่งที่จริงแล้วยังมีอีกหลายคนที่อยากจะชื่นชม แต่ขอพักไว้ชั่วคราวก่อน เพราะอาจารย์ยักษ์มีเรื่องประทับใจที่อยากชื่นชมและอยากบอกเล่าให้รับทราบทั่วกัน

    แหล่งที่มา: 
    พอแล้วรวย คม ชัด ลึก 26 กุมภาพันธ์ 2554
  2. บุคคลที่หาได้ยาก (1)

    Submitted by veevong on February 23, 2011 - 12:02
    ในยุคสมัยแห่งการยื้อแย่งแข่งขัน ท่ามกลางสังคมที่ตะเกียกตะกายแก่งแย่งกัน เพื่อหวังลาภยศถาบรรดาศักดิ์ อาจารย์ยักษ์ถือว่าตัวเองเป็นคนมีบุญ เพราะท่ามกลางความรุ่มร้อนจากโลภะ โทสะ โมหะ ยังได้พบเจอกับเหล่า “บุคคลที่หาได้ยาก” มากมายหลายคน

    ในยุคสมัยแห่งการยื้อแย่งแข่งขัน ท่ามกลางสังคมที่ตะเกียกตะกายแก่งแย่งกัน เพื่อหวังลาภยศถาบรรดาศักดิ์ อาจารย์ยักษ์ถือว่าตัวเองเป็นคนมีบุญ เพราะท่ามกลางความรุ่มร้อนจากโลภะ โทสะ โมหะ ยังได้พบเจอกับเหล่า “บุคคลที่หาได้ยาก” มากมายหลายคน เป็นคนที่มีจิตวิญญาณสร้างผลงานขึ้นมาด้วยจิตใจมุ่งมั่นของตัวเอง แม้ไม่มีปัจจัยค่าตอบแทนใดๆ ก็ทุ่มเททำจริง

    แหล่งที่มา: 
    พอแล้วรวย คม ชัด ลึก 19 กุมภาพันธ์ 2554
  3. เครือข่ายธนาคารต้นไม้ นำโดย พงศา ชูแนม ขับเคลื่อนแนวทางดังกล่าวมาหลายสิบปี โดยมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อย่างภายใต้ปรัชญาของธนาคารต้นไม้ เพราะเชื่อมั่นว่า ต้นไม้เท่านั้นที่เป็นความมั่นคงของแผ่นดิน

              ธนาคารต้นไม้เป็นแนวทางของภาคประชาชน ที่ตั้งขึ้นมาเป็นองค์กรขับเคลื่อน โดยมุ่งหวังส่งเสริมให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในที่ดินของตนเอง แล้วรวมตัวกันเป็นเครือข่าย มีการตรวจนับ การประเมินรับรอง และจัดทำบัญชีธนาคารต้นไม้ กำหนดเป็นสำนักงานใหญ่ และสำนักงานสาขาธนาคารต้นไม้ ด้วยความเชื่อมั่นว่าแนวทางนี้แหละที่จะสร้างความพอเพียง มั่นคง มั่งคั่งที่ยั่งยืนให้แก่ประชาชน สังคม ประเทศชาติ และกับโลกใบนี้

    แหล่งที่มา: 
    พอแล้วรวย คม ชัด ลึก 12 กุมภาพันธ์ 2554
  4. นิ้วนางนั้นอาจารย์ยักษ์เปรียบให้เป็นเหมือนภาคเอกชน ในพลังฝ่ามือที่จะขับเคลื่อนสังคม นิ้วโป้งเปรียบเป็นภาคราชการ นิ้วชี้คือภาควิชาการ นิ้วกลางภาคประชาชน ส่วนนิ้วก้อยคือภาคประชาสังคมและสื่อ ทั้ง 5 นิ้วล้วนมีความสำคัญและหากขยับพร้อมๆ กันก็พร้อมที่จะผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้น

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 2 & 9 ตุลาคม 2553
  5. เครือข่ายภาคประชาชนในนามเครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ เราเชื่อในหลักคำสอนของพระเจ้าอยู่หัวฯ เรามั่นใจในทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง เราเชื่อในฤทธิ์ของทานและให้ความสำคัญกับข้าว ปลา อาหาร อากาศ มากกว่าเงิน

              ฉบับที่แล้ว อาจารย์ยักษ์ ให้แนวทางการสร้างเครือข่ายภาคประชาชนผ่านหลัก “โซ่ 3 เส้น” อันได้แก่ การมีหลักคิดร่วมกัน การมีกฎกติการ่วมกัน และการรักใครกันเหมือนญาติมิตร ซึ่งเสมือนดั่งโซ่ 3 เส้นที่หมุนเกลียวกันเชื่อมร้อยคนจากหลากทิศทาง ต่างสถานภาพทางสังคมต่างอาชีพเข้าด้วยกัน ให้เข้าร่วมขบวนการเดียวกับ แต่เพียงแค่หลักคิดยังไม่พอ สำคัญที่สุด คือ หลักปฏิบัติ ทำอย่างไรให้คนที่เข้ามาแล้วอยู่ร่วมกันได้อย่างมีพลัง และขับเคลื่อนทั้งขบวนไปในทิศทางเดียวกัน

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 25 กันยายน 2553
  6. วิกฤตที่สำคัญที่สุดในขณะนี้ คือ วิกฤตความขัดแย้งทางสังคม ทั้งในระดับท้องถิ่นที่เกิดจากการแย่งทรัพยากร ความขัดแย้งในระดับชาติที่ส่งผลให้เกิดความไม่มั่นใจในด้านความปลอดภัยของประชาชนเจ้าของประเทศ เราจึงต้องอาจหาญลุกขึ้นมาประกาศกล้า ว่าหนทางเดียวที่เราจะรอด คือ เราต้องพึ่งตนเอง

              สภาวการณ์ช่วงเดือนกันยา-ตุลาของทุกปี จะเป็นห้วงเวลาแห่งการแย่งชิงอำนาจระหว่างผู้นำประเทศ เราจะสัมผัสได้ถึงคลื่นใต้น้ำ กระแสแห่งความขัดแย้งจากฝักฝ่ายต่างๆ ซึ่งเหตุการณ์เช่นนี้ไม่ได้เพิ่งเริ่มเกิดขึ้นในระยะไม่กี่ปีมานี้ หากแต่ดำเนินต่อเนื่องยาวนานตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมีทั้งที่สำเร็จและไม่สำเร็จ หากไม่สำเร็จก็กลายเป็นกบฏต้องหาทางหนีตาย หรือแยกย้ายกันไปอยู่ต่างประเทศ หากสำเร็จอำนาจก็จะย้ายขั้วไปทางฝั่งที่ได้ชัยขึ้นมากุมอำนาจบริหารประเทศต่อไป

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 18 กันยายน 2553
  7. ปฏิบัติบูชาที่หนองใหญ่

    Submitted by veevong on February 21, 2011 - 23:24
    ปัญหาเรื่อง “น้ำ” เป็นปัญหาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงแสดงความห่วงกังวลหลายครั้งหลายครา โดยทรงชี้ให้เห็นว่าปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาในแต่ละปีมิได้เพิ่มขึ้นหรือลดลงมากมาย หากแต่สิ่งที่เปลี่ยนไปคือสภาพความเป็นจริงของประเทศไทย ป่าไม้ที่ลดลงอย่างมาก ดินที่แห้งแข็งจนไม่อุ้มน้ำ พอหน้าแล้งก็เกิดภัยแล้งแต่พอหน้าฝน พายุกระหน่ำน้ำก็ท่วมไร่ นา จนเดือดร้อนกันทั่วทุกหัวระแหง

                ปัญหาเรื่อง “น้ำ” เป็นปัญหาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงแสดงความห่วงกังวลหลายครั้งหลายครา โดยทรงชี้ให้เห็นว่าปริมาณน้ำฝนที่ตกลงมาในแต่ละปีมิได้เพิ่มขึ้นหรือลดลงมากมาย หากแต่สิ่งที่เปลี่ยนไปคือสภาพความเป็นจริงของประเทศไทย ป่าไม้ที่ลดลงอย่างมาก ดินที่แห้งแข็งจนไม่อุ้มน้ำ พอหน้าแล้งก็เกิดภัยแล้งแต่พอหน้าฝน พายุกระหน่ำน้ำก็ท่วมไร่ นา จนเดือดร้อนกันทั่วทุกหัวระแหง

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 11 กันยายน 2553
  8. อาหารเป็นหนึ่งในโลก

    Submitted by veevong on February 21, 2011 - 22:59
    “Our country is rich, and strategic. So that if there is any struggle in the world, people want to get this country. And there’s always a struggle in the world. We still stand here. We stand here for the good of the whole world.”

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 4 กันยายน 2553
  9. วัฒนธรรมพอเพียง

    Submitted by veevong on February 21, 2011 - 22:10
    เพื่อนชาวอังกฤษท่านหนึ่งเคยปรารภกับอาจารย์ยักษ์เมื่อพูดถึงคนไทยว่า "Tell your people, don’t change" แปลง่าย ๆ ว่า บอกคนไทยด้วยว่า อย่าเปลี่ยน (มาเป็นเหมือนพวกฝรั่งอย่างฉัน) เมื่อถามกลับไปว่าทำไม คำตอบคือ คนไทย วัฒนธรรมไทย คือ วัฒนธรรมที่ดีที่สุดในโลก

    แหล่งที่มา: 
    คม ชัด ลึก 14 สิงหาคม 2553
  10. เกษตรกรรมไทยหลัง 2012

    Submitted by veevong on February 21, 2011 - 21:42
    ข่าวน้ำท่วม ภัยแล้ง ไฟป่า ดินถล่มที่คนไทยเริ่มจะชินชาว่ากำลังกลายเป็น วัฎจักรของระบบนิเวศไทย ข่าวแม่น้ำโขงแห้ง น้ำในเขื่อนเหลือไม่พอให้เกษตรกรทำนา ทำให้ผู้คนตั้งคำถามว่า “อนาคตของเกษตรไทยจะเป็นอย่างไร”

    ถึงคราแผ่นดินไทยถูก พม่า” ยึดครอง