โพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยของ "พ่อ"
ศูนย์เครือข่ายกสิกรรมธรรมชาติ
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง

ติดต่อเรา

มูลนิธิกสิกรรมธรรมชาติ
เลขที่ ๑๑๔ ซอย บี ๑๒ หมู่บ้านสัมมากร สะพานสูง กรุงเทพฯ ๑๐๒๔๐
สำนักงาน ๐๒-๗๒๙๔๔๕๖ (แผนที่)
ศูนย์กสิกรรมธรรมชาติ มาบเอื้อง 038-198643 (แผนที่)


User login

จับตาการเรียงตัวของดาวเคราะห์ช่วงวันที่ 16-31 พฤษภาคม และ 1-15 มิถุนายน ค.ศ. 2011

  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_argument::init() should be compatible with views_handler::init(&$view, $options) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_argument.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_validate() should be compatible with views_handler::options_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter::options_submit() should be compatible with views_handler::options_submit($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_term_node_tid::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/modules/taxonomy/views_handler_filter_term_node_tid.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_style_default::options() should be compatible with views_object::options() in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_style_default.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_validate() should be compatible with views_plugin::options_validate(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Declaration of views_plugin_row::options_submit() should be compatible with views_plugin::options_submit(&$form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/plugins/views_plugin_row.inc on line 0.
  • strict warning: Non-static method view::load() should not be called statically in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/views.module on line 879.
  • strict warning: Declaration of views_handler_filter_boolean_operator::value_validate() should be compatible with views_handler_filter::value_validate($form, &$form_state) in /home/agrinatu/domains/agrinature.or.th/public_html/sites/all/modules/views/handlers/views_handler_filter_boolean_operator.inc on line 0.

วันทื่ 29 พฤษภาคม เวลา 10:33 UTC เกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ ส่งพลังงาน X-ray และ พายุสุริยะขนาดปานกลาง-ใหญ่ออกมา ตามที่คาดการณ์โดยวิธีดาวเคราะห์เรียงตัว ทิศทางในแนวเดียวกับโลกคาดว่าจะส่งผลกระทบในรูปแบบของแผ่นดินไหว และสภาพอากาศแปรปรวนระดับปานกลาง-มาก ถ้าเกิดแผ่นดินไหวมีแนวโน้มความรุนแรงเกิน 6.3 ริกเตอร์ในช่วงวันที่ 1-3 มิถุนายนเหตุการณ์ในช่วงนี้จะเริ่มจากวันที่ 16 พฤษภาคม เวลาประมาณ 10 UTC จะมีการเรียงตัวในแนวเส้นตรงระหว่าง โลก ดาวพุธ และ ดาววีนัส

วันที่ 17 พฤษภาคม ซึ่งมีการเรียงตัวระหว่างดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ในแนว 0 องศา นอกจากนั้นแล้ว โลก ดาวศุกร์ และ ดาวพุธ ยังมีการเรียงตัวอย่างต่อเนื่องตั้งแต่วันที่ 9 พฤษภาคม จนถึง 18 พฤษภาคม คาดว่าจะเป็นช่วงเวลาที่ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูง อย่างต่อเนื่อง และจะมีผลกระทบต่อโลกในรูปแบบของแผ่นดินไหวขนาด 6.2-7.5 ริกเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 85%  - update : 24 พฤษภาคม : ในช่วงนี้ พลังงานรอบโลกมีการเปลี่ยนแปลงต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้แม้พายุสุริยะจะรุนแรง ก็ตาม ซึ่งทำให้ผลกระทบในรูปแบบของแผ่นดินไหวต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้แต่มีความถี่ สูง นอกจากนั้นยังอยู่ในรูปแบบของพายุ และภูเขาไฟระเบิด

ในวันที่ 19 พฤษภาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ทางช้างเผือก ในแนว 135 องศา เช่นเดียวกับ ดวงอาทิตย์ ดาวศุกร์ และ ดาวพุธ ในแนว 90 องศา คาดว่าจะเป็นวันที่ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูงสุด และจะส่งพลังงานที่จะมีผลต่อโลกในวันที่ 21-23 พฤษภาคม โดยเฉพาะในรูปแบบของแผ่นดินไหวขนาด ระหว่าง 6.3 - 8 ริตเตอร์ ด้วยความน่าจะเป็น 95%  update 28 พฤษภาคม พลังงานอยู่ในรูปแบบของพายุ และ ภูเขาไฟระเบิด มากกว่าแผ่นดินไหว และเกิดในช่วงวันที่ได้คาดการณ์ไว้

19 พฤษภาคม

วันที่ 21 พฤษภาคม มีจะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวหาง Elenin และ ดาวศุกร์ คาดว่าจะเกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ขนาดใหญ่อีกเช่นกัน และอาจส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 23-25 พฤษภาคม ซึ่งอาจจะมีทั้งรูปแบบแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวน ซึ่งเหตุการณ์ในวันนี้จะเป็นการบ่งบอกว่า Elenin มีนัยสำคัญหรือไม่ แต่เป็นผลกระทบทางอ้อม

Update 25 พฤษภาคม วงโคจรของ Elenin มีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย ทำให้แนวเรียงตัวนี้เปลี่ยนเป็นระหว่างวันที่ 24-25 พฤษภาคม แทน

วันที่ 23 พฤษภาคม จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดาวพุธ ซึ่งในช่วงนี้อาจจะมีโอกาสสูงที่จะเกิดแผ่นดินไหวระหว่าง 6.5 - 8.5 ริตเตอร์ และปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ ที่อาจจะส่งผลต่อโลกในวันที่ 26-28 พฤษภาคม ขึ้นอยู่กับทิศทางของพลังงาน

23 พฤษภาคม

วันที่ 24 พฤษภาคม เวลาประมาณ 18 UTC จะมีเหตุการณ์ดาวเคราะห์เรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 90 องศา

หลังจากนั้นคาดว่าปฏิกริยาดวงอาทิตย์จะลดลงบ้างและอาจจะ มีปฏิกริยาสูงขึ้นอีกในวันที่ 29 พฤษภาคม ซึ่งจะมีการเรียงตัวระหว่างดวงอาทิตย์ ดาวเสาร์ และ ดาววีนัส ซึ่งคาดว่า ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาระดับสูง ซึ่งอาจจะส่งพลังงานมาที่โลกในวันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 2 มิถุนายน

29 พฤษภาคม

สถานการณ์ที่ดวงอาทิตย์

วันที่ 2 พฤษภาคม เราเริ่มสังเกตุเห็นแนวปฏิกริยาสูงที่ดวงอาทิตย์ ซึ่งจะโคจรมาเรียงตัวกับโลกประมาณวันที่ 15-17 พฤษภาคม

วันที่ 15 พฤษภาคม เราเริ่มสังเกตุเห็นดาวหางกำลังพุ่งเข้าชนดวงอาทิตย์ ซึ่งอาจจะเป็นช่วงที่ดวงอาทิตย์มีปฏกริยาสูงขึ้นอีกครั้ง

เวลา 23:34 UTC ปริมาณ X-ray เพิ่มตัวสูงขึนเป็นระดับ C4

วันที่ 16 พฤษภาคม จุดดับ 1208 1214 กลับมาขนายตัวอีกครั้ง

15 พฤษภาคม

16 พฤษภาคม

 

วันที่ 17 พฤษภาคม ดาวเทียม SDO ตรวจจับการระเบิดขนาดปานกลาง ทิศทางมาทางโลก คาดว่าจะมาถึงโลกประมาณวันที่ 19-21 พฤษภาคม ส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวน

วันที่ 18 พฤษภาคม เวลาประมาณ 20 UTC เกิดเหตุระเบิดขนาดใหญ่ที่ดวงอาทิตย์แบบ Global eruption นอกจากนั้นยังส่งพลังงาน X-ray ระดับ C2 ในเวลา 18:30 UTC มาที่โลก ทิศทางของพลังงานบางส่วนมาที่โลกซึ่งอาจจะส่งผลกระทบต่อโลกในรูป แบบแผ่นดินไหวระดับ 6.5-8.5 ริตเตอร์ (ภูเขาไฟระเบิดและสภาพอากาศแปรปรวน) ด้วยความน่าจะเป็น 90% พี้นที่เสียงบนโลกนั้นยังคาดการณ์ได้ไม่เที่ยงตรงนักแต่อาจจะเป็นบริเวณ มหาสมุทรอินเดีย ทวีปอเมริกาเหนือ หรือ ทะเลแปซิฟิกตอนใต้ ในช่วงระหว่างวันที่ 20-22 พฤษภาคม

update 22 พฤษภาคม พลังงานพายุสุริยะนี้คาดว่ามีผลเกี่ยวข้องโดยตรงกับแผ่นดินไหวที่ประเทศ ตุรกีหลายร้อยคร้้งในช่วง 3 วันที่ผ่านมา แม้ความรุนแรงจะไม่มากนักก็ตาม นอกจากนั้นยังเกิดภูเขาไฟระเบิดที่ประเทศ Iceland มีพายุโซนร้อนเกิดขึ้นบริเวณประเทศฟิลิปปินส์ พายุทอร์นาโดขนาดใหญ่ทีสหรัฐอเมริกา

วันที่ 19 พฤษภาคม เกิดเหตุระเบิดขนาดปานกลาง-ใหญ่ ในเวลา 7 UTC ทิศทางมาที่โลกแต่ไม่ตรง คาดว่าจะส่งผลให้เกิดแผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด หรือสภาพอากาศแปรปรวนในวันที่ 22-24 พฤษภาคม คำนวณโดยใช้ข้อมูลจาก CACTUS

วันที่ 21 พฤษภาคม เวลาประมาณ 0 UTC เกิดเหตุระเบิดขนาดใหญ่แต่ออกไปทางด้านหลังไม่โดนโลก คาดว่าโลกจะได้รับผลกระทบในดับปานกลางจากเหตุการณ์ครั้งนี้

 

วันที่ 22 พฤษภาคม พบบริเวณสนามแม่เหล็กเปิด (Coronal hole) ซึ่งเกิดขึ้นหลังจากการระเบิดที่ดวงอาทิตย์ในวันที่ 19-20 ที่ผ่านมา และจะเคลื่อนตัวมาเรียงกับโลกอีก 2 วัน และส่งผลให้เกิดผลสุริยะความเร็วสูงพัดมาที่โลกประมาณวันที่ 26-28 พฤษภาคม

20 พฤษภาคม

21 พฤษภาคม

22 พฤษภาคม

วันที่ 23 พฤษภาคม เวลา 4 UTC มีเปลวพลังงานหลุดออกมาจากผิวดวงอาทิตย์ ทิศทางเดียวกับโลกแต่ออกไปทางทิศเหนือ คาดว่าจะส่งผลกระทบต่อโลกในระดับปานกลางระหว่างวันที่ 25-27 พฤษภาคม

update 28 พฤษภาคม

เวลา 21 UTC เกิดการระเบิดมุมกว้าง พลังงานส่วนใหญ่ออกไปทางด้านหลัง แต่มีพลังงานบางส่วนมาที่โลก

จากการคำนวณโดยใช้ข้อมูลของ CACTUS คาดว่าพลังงานช่วงแรกจะมาถึงโลกประมาณวันที่ 28 พฤษภาคม เวลา ประมาณ 11 UTC +/- 3 ชั่วโมง และพลังงานแนวหลักจะมาถึงโลกในวันที่ 29 พฤษภาคม เวลา ประมาณ 5 UTC +/- 3 ชั่วโมง พี้นที่ๆจะได้รับผลกระทบได้แก่ประเทศในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ และ เอเซียใต้ เป็นหลัก แนวรองจะเป็นทางฝั่งทวีปอเมริกาเหนือ

วันที่ 24 พฤษภาคม แนว Coronal hole เข้ามาเรียงตัวกับโลก จะส่งผลให้เกิดลมสุริยะความเร็วสูงมากที่โลกในวันที่ 27-28 พฤษภาคม

วันที่ 26 พฤษภาคม เกิดจุดดับใหม่ที่ดวงอาทิตย์เป็นลางบอกเหตุถึงพายุสุริยะทีเกิดขึ้นและกำลังมาที่โลกในอีกไม่กี่วันข้างหน้า

วันที่ 27 พฤษภาคม แนวจุดดับเข้ามาเรียงตัวกับโลก คาดว่าอีก 1-2 วันจะเป็นช่วงที่ภัยพิบัติบนโลกจะเริ่มขึ้นอีกครั้ง นอกจากนั้นยังมีพลังงาน X-ray ระดับ C-5 เกิดขึ้น

26 พฤษภาคม

27 พฤษภาคม

 

วันทื่ 29 พฤษภาคม เวลา 10:33 UTC เกิดปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์ ส่งพลังงาน X-ray และ พายุสุริยะขนาดปานกลาง-ใหญ่ออกมา ตามที่คาดการณ์โดยวิธีดาวเคราะห์เรียงตัว ทิศทางในแนวเดียวกับโลกคาดว่าจะส่งผลกระทบในวันที่ 1-3 มิถุนายน ในรูปแบบของแผ่นดินไหว และสภาพอากาศแปรปรวนระดับปานกลาง-มาก ถ้าเกิดแผ่นดินไหวมีแนวโน้มความรุนแรงเกิน 6.3 ริตเตอร์

นอกจากนั้นจะมีจุดดับ 1225 และ 1226 กำลังเคลื่อนตัวเข้ามาเรียงกับโลกอีกประมาณ 4-5 วัน ซึ่งตรงกับวันที่ 3-4 มิถุนายน 2554

และเหตุการณ์ต่อเนื่องกันในช่วงวันที่ 1-15 มิถุนายน จะเป็นช่วงที่่น่าติตตามสถานการณ์อีกครั้ง เพราะมีการเรียงตัวของดาวเคราะห์หลายแนวแต่ไม่มีโลกมาเกี่ยวข้องโดยตรง และยังมีดาวหาง Elenin เข้ามาเกี่ยวข้องอีกด้วยซึ่งเรายังมีเข้าใจเกี่ยวกับดาวหางนี้ไม่มากนัก คาดว่าจะมีผลกระทบต่อโลกในช่วงวันดังกล่าว

จะเป็นในทางอ้อมและยังขึ้นอยู่กับทิศทางของปฏิกริยาดวงอาทิตย์เป็นหลัก

เริ่มจากวันที่ 1 มิถุนายน จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวหาง Elenin ในแนว 180 องศา ซึ่งคาดการณ์ว่าดวงอาทิตย์จะเริ่มมีปฏิกริยาสูงกว่าปกติ มีแนวโน้มเกิดพายุสุริยะขึ้นอาจจะเริ่มตั้งแต่วันที่ 31 พฤษภาคม

วันที่ 2 มิถุนายน เวลา 0 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง โลก ดวงอาทิตย์ และ ดวงจันทร์

นอกจากนั้นยังมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาววีนัส และ ดาวพฤหัส ในเวลาประมาณ 2 UTC

วันที่ 3 มิถุนายน เวลา 0 UTC จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ดาวพฤหัส

นอกจากนั้นยังมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาววีนัส และ ดาวพุธ ในเวลา 8 UTC คาดว่าจะเป็นช่วงที่ดวงอาทิตย์จะมีปฏิกริยาสูงเป็นพิเศษ และมีพายุสุริยะขนาดใหญ่ออกมาซึ่งขอให้ผู้ที่สนใจติตตามสถานการณ์ที่ดวง อาทิตย์ และ โลกมากเป็นพิเศษ

ในช่วงวันที่ 2-3 มิถุนายนนั้น มีโอกาศสูงที่จะเกิดแผ่นดินไหวบนโลก เกิน 6.2 ริตเตอร์ ถ้าพายุสุริยะจากวันที่ 31 พฤษภาคม-1มิถุนายน มีทิศทางมาที่โลก ความรุนแรงที่จะเกิดกับโลกขึ้นกับขนาดและทิศทางของพายุสุริยะเป็นหลัก

วันที่ 6-8 มิถุนายน คาดว่าจะเป็นช่วงที่โลกจะได้รับผลกระทบจากพายุสุริยะในวันที่ 2-3 มิถุนายน ในรูปแบบของแผ่นดินไหวและสภาพอากาศแปรปรวน

วันที่ 9 มิถุนายน จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 90 องศา เวลา 4 UTC

วันที่ 10-11 มิถุนายน มีการเรียงตัวระหว่าง Elenin ดาวพุธ และ ดาวศุกร์ ซึ่ง อาจจะเป็นไปได้ว่าจะมีปฏิกริยาที่ดวงอาทิตย์เกิดขึ้นอีก และอาจะมีปฏิกริยาดวงอาทิตย์ที่จะส่งผลกระทบต่อโลกในวันที่ 13-15 มิถุนายน

วันที่ 14 มิถุนายน จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ ดาวพุธ และ ทางช้างเผือก ซึ่งคาดว่าดวงอาทิตยจะมีปฏิกริยาระดับปานกลาง และไม่มากเท่ากับช่วงก่อนหน้านี้ อาจส่งผลกระทบต่อโลก 3-4 วันหลังจากวันที่มีพายุสุริยะ ซึ่งก็ขึ้นกับทิศทางพายุสุริยะเป็นหลัก

สุดท้ายวันที่ 15 มิถุนายน จะมีการเรียงตัวระหว่าง ดวงอาทิตย์ โลก และ ดวงจันทร์ ในแนว 0 องศา เวลา 21 UTC ซึ่งอาจจะเป็นช่วงที่โลกจะได้รับผลกระทบจากพายุสุริยะในวันที่ 10-12 มิถุนายน

 

 

คำเตือน บทความจากเวป truth4thai.com นี้จัดทำขึ้นเพื่อวัตถประสงค์ในการแจ้งเตือนภัยพิบัติที่มีสาเหตุมา จากนอกโลก ซึ่งยังอยู่ในช่วงของการทดลองเก็บสถิติเพิ่มความเที่ยงตรงในการคาดการณ์ นอกจากนั้นแล้วเรายังนำวิธีของ ดร Mensur Omerbashich มาใช้เสริมในการคาดการณ์อีกด้วย ผู้ที่มีหน้าทีรับผิดชอบด้านการเตือนภัย โปรดติดตามสถานการณ์ภัยพิบัติในช่วงนี้มากเป็นพิเศษ สถานการณ์อาจจะมีความต่อเนื่องจนถึงต้นเดือน มิถุนายน ซึ่งจะนำมาเสนอในครั้งต่อไป ถ้าการคาดการณ์มีการผิดพลาดประการใดก็ขออภัยมาที่นี้ด้วย

ถ้าใครสนใจติดตามข้อมูลสามารถเข้าไปได้ที่ http://www.truth4thai.org/

สำหรับในส่วนของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในช่วงวันที่กล่าวมานี้จะลงในบทความถัดไป